top of page

📣วิธีการในการตรวจสอบการเช็กสถานะภาษีเงินคืนได้ด้วยตนเอง


📣วิธีการในการตรวจสอบการเช็กสถานะภาษีเงินคืนได้ด้วยตนเอง  สำหรับในบทความนี้ขอนำเสนอความรู้เกี่ยวกับเรื่องของวิธีการในการตรวจสอบการเช็กสถานะภาษีเงินคืนด้วยตนเองนำมาฝากกันค่ะ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลย  🔹วิธีการในการตรวจสอบการเช็กสถานะภาษีเงินคืนได้ด้วยตนเอง 1.ในขั้นตอนแรกนั้นให้คุณทำการเข้าไปที่หน้าเว็บไซต์ของทางกรมสรรพากรและให้ทำการเลือกไปที่ บริการข้อมูลหรือข้อมูลสำหรับผู้ที่ทำการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรือไปที่บริการสอบถามข้อมูลในการคืนภาษี  2.จากนั้นให้คุณทำการกรอกรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลเลขประจำตัวของผู้เสียภาษี ชื่อของผู้ที่ทำการเสียภาษี (โดยไม่ต้องทำการระบุคำนำหน้าของชื่อ) และสกุล  3.ต่อจากนั้นให้ทำการกดไปที่สอบถาม และเมื่อหน้าจอปรากฏขึ้นจะเข้าสู่หน้าของผลการสอบถามข้อมูลการขอคืนเงินภาษี ภ.ง.ด.90/91 จากนั้นคุณสามารถที่จะทำการตรวจสอบสถานะเงินคืนภาษี และในกรณีที่กรมสรรพากรทำการขอเอกสารเพิ่มเติมจะทำการแสดงรายละเอียดในสถานะในการสอบถามข้อมูล และรวมไปถึงการกำหนดเวลาและช่องทางในการส่งเอกสาร  🔹ช่วงเวลาสำหรับการขอคืนภาษี ซึ่งโดยทั่วไปแล้วนั้นจะมีด้วยกัน 2 ช่วงเวลา 1.การขอคืนเงินภาษีก่อนครบกำหนดในการยื่นภาษี โดยเป็นการขอคืนเงินภาษีหลังจากที่มีการทำการยื่นแบบในทันที ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วนั้นจะนิยมทำการขอคืนในช่วงเวลานี้ด้วยเหตุผลที่ว่าจะได้รับคืนภาษีที่มีความรวดเร็ว  2.การขอคืนภายหลังจากการครบกำหนดในการยื่นภาษี ซึ่งเป็นการขอคืนภาษีภายหลังจากที่ทำการยื่นแบบไปแล้ว โดยที่ทางผู้เสียภาษีนั้นมาทำการนึกได้ในภายหลังสามารถที่จะทำการขอคืนเงินภาษีได้โดยที่ทำการยื่นเพิ่มเติม โดยที่มีเงื่อนไขว่าจะต้องมีการขอคืนภายในระยะเวลา 3 ปี โดยให้นับจากวันที่ครบกำหนดในการยื่นภาษี  🔹ช่องทางสำหรับการรับเงินคืนภาษี 1.การรับผ่านทางระบบพร้อมเพย์  2.การรับคืนภาษีเข้าทางบัญชีของธนาคารกรุงไทย โดยให้ทำการติดต่อที่ทางธนาคารกรุงไทยได้ในทุกสาขาและทำการยื่นหนังสือเพื่อแจ้งคืนภาษีเงินได้ของบุคคลธรรมดาที่ได้รับมาจากทางกรมสรรพากร  3.สามารถรับเงินคืนภาษีเข้าทางบัตร e-money/e-wallet ได้เฉพาะธนาคารกรุงไทย โดยให้ทำการติดต่อที่ทางธนาคารกรุงไทยทุกสาขาและทำการยื่นหนังสือเพื่อทำการแจ้งคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ได้รับจากทางกรมสรรพากร  เป็นอย่างไรกันบ้างคะ หวังว่าในบทความนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้อ่านทุกท่านและพบกันได้ใหม่ในบทความต่อไป  ----------------------------------------------------------------------------------- สนใจบริการดูแลการตลาดออนไลน์ | ทำการตลาดออนไลน์ | ทำกราฟฟิคครบวงจร | สามารถติดต่อเราได้ตลอด  | รับสร้างแบรนด์  | รับทำการตลาดออนไลน์  | รับทำแผนการตลาดออนไลน์  | รับสร้างแบรนด์  | รับดูแล Facebook แฟนเพจ  | รับดูแล LINE OA    สามารถติดต่อเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง   รายละเอียดบริการดูแลการตลาดออนไลน์ >> https://www.chatstickmarket.com/langran  ตัวอย่าง ผลงานแบรนด์ต่างๆ ที่เราดูแลการตลาดออนไลน์ให้ >> https://www.chatstickmarket.com/portfolio  ------------------------------------------------------------------------------------  💙ปรึกษาทีมงานของเรา💙 📱Tel : 0840104252 📱0947805680 สายด่วนออฟฟิศ : 034-900-165 , 02-297-0811 (จันทร์-ศุกร์) 📨 Inbox : http://m.me/ChatStick.TH  ┏━━━━━━━━━┓ 📲 LINE: @chatstick ┗━━━━━━━━━┛ หรือคลิ๊ก https://goo.gl/KuzCpM  🎉รายละเอียดที่ http://www.chatstickmarket.com/langran  🎉ชมผลงานเราได้ที่ https://www.chatstickmarket.com/portfolio

📣วิธีการในการตรวจสอบการเช็กสถานะภาษีเงินคืนได้ด้วยตนเอง


สำหรับในบทความนี้ขอนำเสนอความรู้เกี่ยวกับเรื่องของวิธีการในการตรวจสอบการเช็กสถานะภาษีเงินคืนด้วยตนเองนำมาฝากกันค่ะ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลย


🔹วิธีการในการตรวจสอบการเช็กสถานะภาษีเงินคืนได้ด้วยตนเอง

1.ในขั้นตอนแรกนั้นให้คุณทำการเข้าไปที่หน้าเว็บไซต์ของทางกรมสรรพากรและให้ทำการเลือกไปที่ บริการข้อมูลหรือข้อมูลสำหรับผู้ที่ทำการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรือไปที่บริการสอบถามข้อมูลในการคืนภาษี


2.จากนั้นให้คุณทำการกรอกรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลเลขประจำตัวของผู้เสียภาษี ชื่อของผู้ที่ทำการเสียภาษี (โดยไม่ต้องทำการระบุคำนำหน้าของชื่อ) และสกุล


3.ต่อจากนั้นให้ทำการกดไปที่สอบถาม และเมื่อหน้าจอปรากฏขึ้นจะเข้าสู่หน้าของผลการสอบถามข้อมูลการขอคืนเงินภาษี ภ.ง.ด.90/91 จากนั้นคุณสามารถที่จะทำการตรวจสอบสถานะเงินคืนภาษี และในกรณีที่กรมสรรพากรทำการขอเอกสารเพิ่มเติมจะทำการแสดงรายละเอียดในสถานะในการสอบถามข้อมูล และรวมไปถึงการกำหนดเวลาและช่องทางในการส่งเอกสาร


🔹ช่วงเวลาสำหรับการขอคืนภาษี

ซึ่งโดยทั่วไปแล้วนั้นจะมีด้วยกัน 2 ช่วงเวลา

1.การขอคืนเงินภาษีก่อนครบกำหนดในการยื่นภาษี โดยเป็นการขอคืนเงินภาษีหลังจากที่มีการทำการยื่นแบบในทันที ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วนั้นจะนิยมทำการขอคืนในช่วงเวลานี้ด้วยเหตุผลที่ว่าจะได้รับคืนภาษีที่มีความรวดเร็ว


2.การขอคืนภายหลังจากการครบกำหนดในการยื่นภาษี ซึ่งเป็นการขอคืนภาษีภายหลังจากที่ทำการยื่นแบบไปแล้ว โดยที่ทางผู้เสียภาษีนั้นมาทำการนึกได้ในภายหลังสามารถที่จะทำการขอคืนเงินภาษีได้โดยที่ทำการยื่นเพิ่มเติม โดยที่มีเงื่อนไขว่าจะต้องมีการขอคืนภายในระยะเวลา 3 ปี โดยให้นับจากวันที่ครบกำหนดในการยื่นภาษี


🔹ช่องทางสำหรับการรับเงินคืนภาษี

1.การรับผ่านทางระบบพร้อมเพย์


2.การรับคืนภาษีเข้าทางบัญชีของธนาคารกรุงไทย โดยให้ทำการติดต่อที่ทางธนาคารกรุงไทยได้ในทุกสาขาและทำการยื่นหนังสือเพื่อแจ้งคืนภาษีเงินได้ของบุคคลธรรมดาที่ได้รับมาจากทางกรมสรรพากร


3.สามารถรับเงินคืนภาษีเข้าทางบัตร e-money/e-wallet ได้เฉพาะธนาคารกรุงไทย โดยให้ทำการติดต่อที่ทางธนาคารกรุงไทยทุกสาขาและทำการยื่นหนังสือเพื่อทำการแจ้งคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ได้รับจากทางกรมสรรพากร


เป็นอย่างไรกันบ้างคะ หวังว่าในบทความนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้อ่านทุกท่านและพบกันได้ใหม่ในบทความต่อไป


-----------------------------------------------------------------------------------

สนใจบริการดูแลการตลาดออนไลน์ | ทำการตลาดออนไลน์ | ทำกราฟฟิคครบวงจร | สามารถติดต่อเราได้ตลอด | รับสร้างแบรนด์ | รับทำการตลาดออนไลน์ | รับทำแผนการตลาดออนไลน์ | รับสร้างแบรนด์ | รับดูแล Facebook แฟนเพจ | รับดูแล LINE OA สามารถติดต่อเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง

รายละเอียดบริการดูแลการตลาดออนไลน์

ตัวอย่าง ผลงานแบรนด์ต่างๆ ที่เราดูแลการตลาดออนไลน์ให้

------------------------------------------------------------------------------------


💙ปรึกษาทีมงานของเรา💙

📱Tel : 0840104252 📱0947805680

สายด่วนออฟฟิศ : 034-900-165 , 02-297-0811 (จันทร์-ศุกร์)

┏━━━━━━━━━┓

📲 LINE: @chatstick

┗━━━━━━━━━┛

หรือคลิ๊ก https://goo.gl/KuzCpM

🎉รายละเอียดที่ http://www.chatstickmarket.com/langran

🎉ชมผลงานเราได้ที่ https://www.chatstickmarket.com/portfolio

แท็ก:

ดู 10 ครั้ง
CS_Redesign_คอนเทนต์เดิม2_2.png
CS_Redesign_คอนเทนต์เดิม3.png
Recent Posts
c24f0332fa3b87f8a304140403b893510_64100212_210625.jpg
244712625_300456528129611_2152723951836713111_n.jpg
5.png
4.png
Button Event สติกเกอร์.png
2.png
Button ChatStick Market.png
bottom of page