รู้ไว้ไม่ขาดทุน❌วิธีการคำนวณต้นทุนขาย
รู้ไว้ไม่ขาดทุน❌วิธีการคำนวณต้นทุนขาย
สำหรับในบทความนี้จะขอนำเสนอเกี่ยวกับวิธีการในการคำนวณต้นทุนในการขายนำมาฝากกันค่ะ ถ้าพร้อมแล้วไปดูกันเลย
👉🏻ทำความรู้จักกับ ต้นทุนในการขาย
ต้นทุนในการขาย คือ สิ่งที่เป็นจำนวนที่ได้มีการจ่ายไปในการซื้อสินค้า วัตถุดิบ ซึ่งเป็นต้นทุนที่มีการเกิดขึ้นในการผลิตสินค้าและการบริการที่ทำการขายพร้อมกับกิจกรรมกระบวนการต่างๆ ที่ทำให้สินค้าและการบริการนั้นพร้อมที่จะขายหรือพร้อมที่จะใช้งานในภายหลัง โดยเริ่มตั้งแต่เรื่องของการออกแบบผลิตภัณฑ์ การผลิตต่างๆ การทดสอบ การจัดเก็บและการขนส่ง เป็นต้น
👉🏻วิธีการในการคำนวณเกี่ยวกับต้นทุนในการขาย
โดยจะแบ่งวิธีการในการคำนวณตามประเภทของธุรกิจ ดังนี้
1.ธุรกิจเกี่ยวกับการซื้อมาและทำการขายไป ซึ่งธุรกิจในการขายสินค้าทางออนไลน์นั้น ต้นทุนขายคำนวณนั้นให้คิดจากราคาสินค้าที่ได้ทำการซื้อมาโดยตรง และรวมไปกับค่าขนส่งสินค้าเข้ามาภายในร้าน
2.ธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตสินค้า โดยสามารถที่จะทำการแยกประเภทของต้นทุนได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
กอ. คือประเภทของทุนคงที่ ซึ่งเป็นต้นทุนที่มีในส่วนของมูลค่าที่เท่าเดิมไม่ว่าจะเป็นในส่วนของการผลิตสินค้าในปริมาณที่มากหรือน้อย ได้แก่ ค่าเช่า เงินเดือน ค่าเบี้ยในการประกันภัย เป็นต้น
ขอ. คือประเภทต้นทุนผันแปร ซึ่งเป็นต้นทุนที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณในการผลิตสินค้า ได้แก่ ค่าแรงงาน ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าวัตถุดิบ เป็นต้น
👉🏻ซึ่งสามารถทำการคำนวณในส่วนของต้นทุนได้ดังต่อไปนี้
1.ต้นทุนที่เกี่ยวกับวัตถุดิบ ซึ่งเป็นต้นทุนหลักในการนำมาผลิตสินค้า
ขอยกตัวอย่างง่ายๆ เช่น ต้นทุนวัตถุดิบ = ปริมาณวัตถุดิบที่สามารถใช้ได้จริงนำไปคูณกับราคาที่ซื้ออาหารด้วยปริมาณที่ทำการซื้อ
2.ค่าแรงในการผลิต โดยมีการคำนวณค่าแรงดังนี้
โดยขอยกตัวอย่างง่ายๆ เช่น ค่าแรงวันละ 500 บาทโดยเฉลี่ยทำการผลิตขนมได้วันละ 1000 ชิ้น จะได้ค่าแรงต่อขนม 1 ชิ้นจะได้เท่ากับ 0.5บาท
3.ต้นทุนที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการผลิต ได้แก่ ค่าน้ำมันของรถ ค่าไฟฟ้า และค่าของเสียที่ได้เกิดขึ้นจากกระบวนการในการผลิต
โดยคิดค่าไฟฟ้าได้ดังนี้คือ ถ้าทางโรงงานมีการผลิตสินค้าและมีการเปลี่ยนแปลงจ่ายค่าไฟเป็นจำนวนเงิน 100,000บาท และทำการผลิตสินค้าได้จำนวน 20,000ชิ้น ซึ่งจะคิดได้คือ สินค้า 1 ชิ้นจะเท่ากับราคา 5 บาท
ค่าน้ำมันของรถ ซึ่งสามารถที่จะทำการคิดได้โดยราคาน้ำมันที่ใช้จริงในรถแต่ละคัน
ในส่วนของเสียที่ได้เกิดจากกระบวนการในการผลิต อาจจะใช้เป็นการประเมิน ยกตัวอย่างเช่น ทำการผลิตขนมจำนวน 10 ชิ้น มีขนมที่เสียไป 1 ชิ้น ซึ่งจะเท่ากับของเสียโดยคิดเป็น 10% จากสินค้าที่ได้ทำการผลิต
เป็นอย่างไรกันบ้างคะ หวังว่าในบทความนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้อ่านทุกท่านและพบกันได้ใหม่ในบทความต่อไป
-----------------------------------------------------------------------------------
สนใจบริการดูแลการตลาดออนไลน์ | ทำการตลาดออนไลน์ | ทำกราฟฟิคครบวงจร | สามารถติดต่อเราได้ตลอด | รับสร้างแบรนด์ | รับทำการตลาดออนไลน์ | รับทำแผนการตลาดออนไลน์ | รับสร้างแบรนด์ | รับดูแล Facebook แฟนเพจ | รับดูแล LINE OA สามารถติดต่อเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง
รายละเอียดบริการดูแลการตลาดออนไลน์
ตัวอย่าง ผลงานแบรนด์ต่างๆ ที่เราดูแลการตลาดออนไลน์ให้
------------------------------------------------------------------------------------
💙ปรึกษาทีมงานของเรา💙
📱Tel : 0840104252 📱0947805680
สายด่วนออฟฟิศ : 034-900-165 , 02-297-0811 (จันทร์-ศุกร์)
📨 Inbox : http://m.me/ChatStick.TH
┏━━━━━━━━━┓
📲 LINE: @chatstick
┗━━━━━━━━━┛
หรือคลิ๊ก https://goo.gl/KuzCpM
🎉รายละเอียดที่ http://www.chatstickmarket.com/langran
🎉ชมผลงานเราได้ที่ https://www.chatstickmarket.com/portfolio
Comments