top of page

ไขทุกข้อสงสัยเช็คดีต่อธุรกิจอย่างไร


  ไขทุกข้อสงสัยเช็คดีต่อธุรกิจอย่างไร  เช็คเป็นสิ่งที่ได้รับความนิยมมากในกลุ่มนักธุรกิจ แต่เช็คไม่ใช่สิ่งที่ง่ายอย่างที่เข้าใจกัน เพราะมีข้อจำกัดหลายอย่าง ดังนั้นวันนี้จะมาบอกเล่าความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเช็ค และเช็คนั้นดีต่อธุรกิจอย่างไร   เช็คในประเทศไทยกฎหมายกำหนดรูปแบบไว้ทั้งหมด 2 รูปแบบดังนี้  - เช็คระบุชื่อ คือ เช็คผู้จ่ายเขียน เพื่อให้ธนาคารจ่ายเงินให้ผู้รับเงิน - เช็คผู้ถือ คือ เช็คที่ผู้จ่ายเขียนโดยไม่ระบุผู้รับเงิน ดังนั้นใครที่เป็นผู้ถือเช็คฉบับนั้นก็สามารถนำไปขึ้นเงินได้  ในประเทศไทยก็แบ่งย่อยออกอีกเป็น 7 รูปแบบดังนี้ 1) เช็คเงินสด คือ เช็คที่สามารถนำไปขึ้นเงินได้ทันที โดยไม่ต้องคำนึงว่าใครจะเป็นผู้รับเงิน 2) เช็คระบุชื่อผู้รับเงิน คือ เช็คที่มีการระบุชื่อผู้รับเงินไว้ ถ้าต้องการโอนสิทธิ์ไปให้คนอื่น ต้องสลักชื่อไว้หลังเช็ค 3) เช็คธนาคาร คือ ช็คที่ธนาคารออกให้แก่ลูกค้าที่นำเงินมาซื้อเช็คกับธนาคาร โดยในเช็คจะมีลายมือชื่อผู้มีอำนาจในธนาคาร ซึ่งเช็คแบบนี้จะใช้ได้แค่ในพื้นที่นั้น ๆ 4) เช็คธนาคารรับ คือ เช็คที่ธนาคารรับรองก็เมื่อตอนที่ผู้จ่ายมีเงินในบัญชีเพียงพอ 5) เคาน์เตอร์เช็ค คือ เช็คธนาคารสำหรับกรณีเจ้าของบัญชีต้องการใช้เงินอย่าง   เร่งด่วนแต่มิได้เอาสมุดบัญชีมา ซึ่งเช็คฉบับนี้จะไม่สามารถโอนสิทธิ์ให้คนอื่นได้ 6) เช็คผู้เดินทาง คือ เช็คสำหรับนักเดินทางที่ไม่ต้องการพกเงินสดไปมาก ๆ 7) ดร๊าฟธนาคาร คือ เช็คที่ธนาคารออกเพื่อสั่งให้อีกธนาคารหนึ่งจ่ายเงินให้กับผู้รับเงินที่ระบุไว้  แล้วในเช็คฉบับหนึ่งต้องมีอะไรบ้าง 1) คำบอกว่าเป็นเช็ค คือ หลักฐานแสดงว่าเป็นเช็คของธนาคาร จำพวกเลขระบุเช็ค 2) คำสั่งให้ใช้เงินโดยไม่มีเงื่อนไข คือ การระบุจำนวนเงิน 3) ชื่อธนาคาร  4) ชื่อผู้รับเงิน 5) ลายมือชื่อผู้จ่าย 6) วันที่ออกเช็ค รวมถึงสถานที่ด้วย * เช็คจะมีผลก็ต่อเมื่อข้อ 1 - 5 ต้องครบสมบูรณ์ *  เช็คในลักษณะใดบ้างและคำศัพท์ของเช็คสำคัญ ๆ มีอะไร 1) เช็คขีดคร่อม คือ เช็คที่มีการขีดเส้น 2 เส้นไว้มุมซ้ายของเช็ค ซึ่งมีอยู่ 2 รูปแบบดังนี้ - ทั่วไป คือ เช็คที่มีการขีดเส้นไว้แค่มุมซ้ายที่เดียว โดยลักษณะนี้ผู้รับเงินจะยังไม่สามารถนำไปขึ้นเงินได้ทันที ซึ่งผู้รับเช็คเอาไปให้ธนาคาร ทางธนาคารจะเรียกเก็บจากผู้จ่ายอีกที - เฉพาะ คือ เช็คที่มีการขีดเส้นไว้แค่มุมซ้ายที่เดียว แต่มีการระบุความต้องการ ซึ่งเช็คฉบับนี้จะจ่ายเงินให้ธนาคารตามที่ระบุไว้เท่านั้น   2) เช็คสลักหลัง คือ การโอนสิทธิ์ของเช็คให้กับผู้อื่น โดยแบ่งย่อยได้ 2 แบบดังนี้ - เช็คสลักหลังระบุชื่อ คือ เช็คที่ผู้รับเงินระบุชื่อผู้โอนสิทธิ์พร้อมระบุชื่อผู้รับเงินกำกับไว้ - เช็คสลักหลังลอย คือ เช็คที่ผู้รับเงินไม่ได้ระบุชื่อผู้รับสิทธิ์โอน ซึ่งจะกลายเป็นเช็คผู้ถือไปโดยทันที  3) เช็ควันที่ล่วงหน้า คือ เช็คที่สามารถนำเป็นหลักค้ำประกันได้ โดยจะลงวันที่ตามที่ผู้จ่ายต้องการ ซึ่งเช็คแบบนี้จะนิยมมากในการทำธุรกิจ  4) เช็คเคลียริ่ง คือ กระบวนการที่ธนาคารเรียกเก็บเช็คซึ่งกันและกัน  5) เช็คคืน คือ เช็คที่ผู้จ่ายมีเงินไม่พอจ่าย หรือเรียกกันอีกชื่อว่าเช็คเด้งนั่นเอง  ----------------------------------------------------------------------------------- สนใจบริการดูแลการตลาดออนไลน์ | ทำการตลาดออนไลน์ | ทำกราฟฟิคครบวงจร | สามารถติดต่อเราได้ตลอด  | รับสร้างแบรนด์  | รับทำการตลาดออนไลน์  | รับทำแผนการตลาดออนไลน์  | รับสร้างแบรนด์  | รับดูแล Facebook แฟนเพจ  | รับดูแล LINE OA    สามารถติดต่อเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง   รายละเอียดบริการดูแลการตลาดออนไลน์ >> https://www.chatstickmarket.com/langran  ตัวอย่าง ผลงานแบรนด์ต่างๆ ที่เราดูแลการตลาดออนไลน์ให้ >> https://www.chatstickmarket.com/portfolio  ------------------------------------------------------------------------------------  💙ปรึกษาทีมงานของเรา💙 📱Tel : 0840104252 📱0947805680 สายด่วนออฟฟิศ : 034-900-165 , 02-297-0811 (จันทร์-ศุกร์) 📨 Inbox : http://m.me/ChatStick.TH  ┏━━━━━━━━━┓ 📲 LINE: @chatstick ┗━━━━━━━━━┛ หรือคลิ๊ก https://goo.gl/KuzCpM  🎉รายละเอียดที่ http://www.chatstickmarket.com/langran  🎉ชมผลงานเราได้ที่ https://www.chatstickmarket.com/portfolio

ไขทุกข้อสงสัยเช็คดีต่อธุรกิจอย่างไร


เช็คเป็นสิ่งที่ได้รับความนิยมมากในกลุ่มนักธุรกิจ แต่เช็คไม่ใช่สิ่งที่ง่ายอย่างที่เข้าใจกัน เพราะมีข้อจำกัดหลายอย่าง ดังนั้นวันนี้จะมาบอกเล่าความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเช็ค และเช็คนั้นดีต่อธุรกิจอย่างไร


เช็คในประเทศไทยกฎหมายกำหนดรูปแบบไว้ทั้งหมด 2 รูปแบบดังนี้

- เช็คระบุชื่อ คือ เช็คผู้จ่ายเขียน เพื่อให้ธนาคารจ่ายเงินให้ผู้รับเงิน

- เช็คผู้ถือ คือ เช็คที่ผู้จ่ายเขียนโดยไม่ระบุผู้รับเงิน ดังนั้นใครที่เป็นผู้ถือเช็คฉบับนั้นก็สามารถนำไปขึ้นเงินได้


ในประเทศไทยก็แบ่งย่อยออกอีกเป็น 7 รูปแบบดังนี้

1) เช็คเงินสด คือ เช็คที่สามารถนำไปขึ้นเงินได้ทันที โดยไม่ต้องคำนึงว่าใครจะเป็นผู้รับเงิน

2) เช็คระบุชื่อผู้รับเงิน คือ เช็คที่มีการระบุชื่อผู้รับเงินไว้ ถ้าต้องการโอนสิทธิ์ไปให้คนอื่น ต้องสลักชื่อไว้หลังเช็ค

3) เช็คธนาคาร คือ ช็คที่ธนาคารออกให้แก่ลูกค้าที่นำเงินมาซื้อเช็คกับธนาคาร โดยในเช็คจะมีลายมือชื่อผู้มีอำนาจในธนาคาร ซึ่งเช็คแบบนี้จะใช้ได้แค่ในพื้นที่นั้น ๆ

4) เช็คธนาคารรับ คือ เช็คที่ธนาคารรับรองก็เมื่อตอนที่ผู้จ่ายมีเงินในบัญชีเพียงพอ

5) เคาน์เตอร์เช็ค คือ เช็คธนาคารสำหรับกรณีเจ้าของบัญชีต้องการใช้เงินอย่าง เร่งด่วนแต่มิได้เอาสมุดบัญชีมา ซึ่งเช็คฉบับนี้จะไม่สามารถโอนสิทธิ์ให้คนอื่นได้

6) เช็คผู้เดินทาง คือ เช็คสำหรับนักเดินทางที่ไม่ต้องการพกเงินสดไปมาก ๆ

7) ดร๊าฟธนาคาร คือ เช็คที่ธนาคารออกเพื่อสั่งให้อีกธนาคารหนึ่งจ่ายเงินให้กับผู้รับเงินที่ระบุไว้


แล้วในเช็คฉบับหนึ่งต้องมีอะไรบ้าง

1) คำบอกว่าเป็นเช็ค คือ หลักฐานแสดงว่าเป็นเช็คของธนาคาร จำพวกเลขระบุเช็ค

2) คำสั่งให้ใช้เงินโดยไม่มีเงื่อนไข คือ การระบุจำนวนเงิน

3) ชื่อธนาคาร

4) ชื่อผู้รับเงิน

5) ลายมือชื่อผู้จ่าย

6) วันที่ออกเช็ค รวมถึงสถานที่ด้วย

* เช็คจะมีผลก็ต่อเมื่อข้อ 1 - 5 ต้องครบสมบูรณ์ *


เช็คในลักษณะใดบ้างและคำศัพท์ของเช็คสำคัญ ๆ มีอะไร

1) เช็คขีดคร่อม คือ เช็คที่มีการขีดเส้น 2 เส้นไว้มุมซ้ายของเช็ค ซึ่งมีอยู่ 2 รูปแบบดังนี้

- ทั่วไป คือ เช็คที่มีการขีดเส้นไว้แค่มุมซ้ายที่เดียว โดยลักษณะนี้ผู้รับเงินจะยังไม่สามารถนำไปขึ้นเงินได้ทันที ซึ่งผู้รับเช็คเอาไปให้ธนาคาร ทางธนาคารจะเรียกเก็บจากผู้จ่ายอีกที

- เฉพาะ คือ เช็คที่มีการขีดเส้นไว้แค่มุมซ้ายที่เดียว แต่มีการระบุความต้องการ ซึ่งเช็คฉบับนี้จะจ่ายเงินให้ธนาคารตามที่ระบุไว้เท่านั้น


2) เช็คสลักหลัง คือ การโอนสิทธิ์ของเช็คให้กับผู้อื่น โดยแบ่งย่อยได้ 2 แบบดังนี้

- เช็คสลักหลังระบุชื่อ คือ เช็คที่ผู้รับเงินระบุชื่อผู้โอนสิทธิ์พร้อมระบุชื่อผู้รับเงินกำกับไว้

- เช็คสลักหลังลอย คือ เช็คที่ผู้รับเงินไม่ได้ระบุชื่อผู้รับสิทธิ์โอน ซึ่งจะกลายเป็นเช็คผู้ถือไปโดยทันที


3) เช็ควันที่ล่วงหน้า คือ เช็คที่สามารถนำเป็นหลักค้ำประกันได้ โดยจะลงวันที่ตามที่ผู้จ่ายต้องการ ซึ่งเช็คแบบนี้จะนิยมมากในการทำธุรกิจ


4) เช็คเคลียริ่ง คือ กระบวนการที่ธนาคารเรียกเก็บเช็คซึ่งกันและกัน


5) เช็คคืน คือ เช็คที่ผู้จ่ายมีเงินไม่พอจ่าย หรือเรียกกันอีกชื่อว่าเช็คเด้งนั่นเอง


-----------------------------------------------------------------------------------

สนใจบริการดูแลการตลาดออนไลน์ | ทำการตลาดออนไลน์ | ทำกราฟฟิคครบวงจร | สามารถติดต่อเราได้ตลอด | รับสร้างแบรนด์ | รับทำการตลาดออนไลน์ | รับทำแผนการตลาดออนไลน์ | รับสร้างแบรนด์ | รับดูแล Facebook แฟนเพจ | รับดูแล LINE OA สามารถติดต่อเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง

รายละเอียดบริการดูแลการตลาดออนไลน์

ตัวอย่าง ผลงานแบรนด์ต่างๆ ที่เราดูแลการตลาดออนไลน์ให้

------------------------------------------------------------------------------------


💙ปรึกษาทีมงานของเรา💙

📱Tel : 0840104252 📱0947805680

สายด่วนออฟฟิศ : 034-900-165 , 02-297-0811 (จันทร์-ศุกร์)

┏━━━━━━━━━┓

📲 LINE: @chatstick

┗━━━━━━━━━┛

หรือคลิ๊ก https://goo.gl/KuzCpM

🎉รายละเอียดที่ http://www.chatstickmarket.com/langran

🎉ชมผลงานเราได้ที่ https://www.chatstickmarket.com/portfolio

แท็ก:

ดู 6 ครั้ง

Kommentare


CS_Redesign_คอนเทนต์เดิม2_2.png
CS_Redesign_คอนเทนต์เดิม3.png
Recent Posts
c24f0332fa3b87f8a304140403b893510_64100212_210625.jpg
244712625_300456528129611_2152723951836713111_n.jpg
5.png
4.png
Button Event สติกเกอร์.png
2.png
Button ChatStick Market.png
bottom of page